Question :
สิ่งมีชีวิตมีกระบวนการในการปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา
สิ่งมีชีวิตในโลกมีมากมายหลายชนิด แต่ละชนิดก็มีความแตกต่างกัน อาทิเช่น ลักษณะทางพันธุกรรม แหล่งที่อยู่อาศัย รูปแบบการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ โดยมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจะมีความสัมพันธ์กันทั้งทางตรงและทางอ้อม เรียกได้ว่าเป็นปัจจัยสี่ของกันและกัน ซึ่งสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดสามารถดำรงค์ชีวิตอยู่ได้ กับการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ที่นับวันจะเสื่อมโทรมลง นั้นคือกระบวนการปรับตัว ด้วยวิธีการพิเศษของสิ่งมีชีวิตแต่ละสิ่ง เริ่มตั้งแต่ จุลชีวิตขนาดเล็กไปจนถึง สิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ เช่น การขยายพันธุ์ของแหนแดง ที่ถูกจำกัดด้วยพื้นที่ของอ่างน้ำ ซึ่งแหนแดงก็จะมีวิธีการจัดการตัวเองด้วยกายย่อยสลายตัวเองออกไปจากกลุ่ม ซึ่งต้นที่ถูกย่อยจะเป็นต้นที่เกิดอยู่รอบนอกสุดของกลุ่มและอยู่ขอบริมของอ่างน้ำ
ดังนั้นจึงจำเป็นที่นักเรียนต้องเรียนรู้เกี่ยวกับ กระบวนการดำเนินชีวิตของสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวเข้ากับรูปแบบของธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไป และเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันโดยพึ่งพาอาศัยกันได้อย่างสมดุลและดำรงค์ชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ
เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding Goals) :
1. เพื่อศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กให้เข้ากับธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างสมดุล
2. เห็นคุณค่า และความสัมพันธ์ของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับมนุษย์ รวมทั้งรักษาสมดุลของสภาพแวดล้อม เพื่อทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพคงอยู่ต่อไปได
ตารางวิเคราะห์วมาตรฐานการเรียนรู้
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์สาระการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “1000 ล้านชีวิตในตัวเรา” ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปะ
|
|
สร้างฉันทะ
สร้างแรงบันดาลใจ
-
เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
-
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
-
สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
|
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน
แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน
ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.2/9)
|
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1
ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส1.2
- มีมรรยาทของความเป็น ศาสนิกชนที่ดี
(ส1.2
ม.2/2)
มาตรฐาน ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2
ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม.2/2)
-
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ (ส 4.1 ม.3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ
เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (ส 4.2 ม.2/1)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /1)
-
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /2 )
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (ง 1.1 ม.2 /3 )
-
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4-6 /1 )
-
สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6 /2 )
-
มีทักษะในการจัดการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /3 )
-
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /4 )
-
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต
(ง 1.1 ม.4
/5 )
-
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1
ม.4-6 /6 )
|
มาตรฐาน พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์
สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1
ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1 )
มาตรฐาน พ 3.1
-
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม
คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน (พ 3.1 ม.3/2)
มาตรฐาน พ 3.2
-
เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง
(พ 3.2 ม.2/2)
-
มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (พ 3.2 ม.3/3)
-
นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้
(พ 3.2 ม.3/5)
|
มาตรฐาน ศ1.1
-
วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา
น้ำหนัก และวรรณะสี
–สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ
เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (ศ 1.1 ม.2/3)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลศึกษา
|
ศิลปะ
|
|
ร่างกาย/สิ่งมีชีวิต
-
พืช การปลูกผักกินเอง
-
สัตว์ การเลี้ยงไก่ ปลา
การออกแบบโรงเรือนไก่
|
มาตรฐาน ว1.2
- สำรวจและอธิบายเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ
สิ่งมีชีวิตในท้องถิ่นของตนเองที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
(ว1.2 ม.3/4)
มาตรฐาน ว2.1
- สำรวจระบบนิเวศต่างๆในโรงเรียน
ท้องถิ่น และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบนิเวศกับสิ่งมีชีวิตได้
(ว 2.1 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
- วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นตนเองพร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ไขได้
(ว 2.2 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 6.1
- สำรวจ
วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์ การปรับปรุงคุณภาพของดินเพื่อใช้ในการเกษตร
ปลูกผักปลอดสารพิษและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ (ว 6.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้(ว
8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ (ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน
แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน
ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว
8.1 ม.2/9)
|
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1
ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส1.2
- มีมารยาทของความเป็น ศาสนิกชนที่ดี
(ส1.2 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน
ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์(ส 4.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /1)
-
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /2 )
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (ง 1.1 ม.2 /3 )
-
สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ง 1.1 ม.3 /1)
-
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4-6 /1 )
-
สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6 /2 )
-
มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 ม.4-6 /3 )
-
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /4 )
-
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4 /5 )
-
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1
ม.4-6 /6 )
มาตรฐาน ง 2.1
-
มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการตัดต่อคลิปการทำเกษตร
(ง 2.1 ม.2 /3)
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ง 2.1 ม.2 /4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้ซอฟแวร์ในการทำงานเช่น Picasa 3, Sony vegas Pro 11 ได้ (ง 3.1
ม.2 /4)
-
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้ (ง 3.1 ม.3 /3)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
(ง 3.1 ม.3
/4)
-
ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต(ง
3.1 ม.4-6/9)
-
อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม.4-6/13)
|
มาตรฐาน พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์
สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1
ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1 )
มาตรฐาน พ 3.1
-
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม
คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน (พ 3.1 ม.3/2)
มาตรฐาน พ 3.2
-
เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง
(พ 3.2 ม.2/2)
-
มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (พ 3.2 ม.3/3)
-
นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้
(พ 3.2 ม.3/5)
|
มาตรฐาน ศ1.1
-
วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา
น้ำหนัก และวรรณะสี
-สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังแลภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ
เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (ศ 1.1 ม.2/3)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลศึกษา
|
ศิลปะ
|
|
จุลินทรีย์ รา แบคทีเรีย
-
ประโยชน์และโทษของ จุลินทรีย์ รา
แบคทีเรีย
- การทดสอบสารอาหาร
- การทำไวน์
|
มาตรฐาน ว 1.1
- อธิบายโครงสร้างและการทำงานของระบบย่อยอาหาร
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจระบบประสาทที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการกินได้ (ว1.1 ม.2/1)
- อธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆของร่างกาย
รวมทั้งสังเกตพฤติกรรมของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งมีชีวิตที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกและภายในได้
(ว1.1
ม.2/2-3)
- อธิบายเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์
ปรับปรุงพันทางการเกษตร รวมทั้งนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้
(ว1.1
ม.2/4)
- สามารถทดลองวิเคราะห์และอธิบายสารอาหารในอาหาร
มีปริมาณพลังงาน และสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัยได้
(ว1.1
ม.2/5)
- อธิบายเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
และนำความรู้ไปใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพได้ (ว1.1 ม.4-6/4)
มาตรฐาน ว 1.2
- สำรวจและอธิบายเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ
แหล่งอาหารในท้องถิ่นของตนเองที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
(ว1.2 ม.3/4)
มาตรฐาน ว 2.1
- สำรวจระบบนิเวศต่างๆในท้องถิ่นและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบนิเวศกับสิ่งมีชีวิตได้
(ว 2.1 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
- วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นตนเองพร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ไขได้
(ว 2.2 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 6.1
- สำรวจ
วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์ การปรับปรุงคุณภาพของดินเพื่อใช้ในการเกษตรและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
(ว 6.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน
แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน
ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว
8.1 ม.2/9)
|
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1 ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส1.2
- มีมรรยาทของความเป็น ศาสนิกชนที่ดี (ส1.2 ม.2/2)
มาตรฐาน ส2.2
-
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2
ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ (ส 4.1 ม.3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ
เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (ส 4.2 ม.2/1)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /1)
-
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /2 )
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (ง 1.1 ม.2 /3 )
-
สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ง 1.1 ม.3 /1)
-
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4-6 /1 )
-
สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6 /2 )
-
มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 ม.4-6 /3 )
-
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /4 )
-
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4 /5 )
-
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1
ม.4-6 /6 )
มาตรฐาน ง 2.1
-
มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการตัดต่อคลิปการเลือกซื้ออาหาร
(ง 2.1 ม.2 /3)
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ง 2.1 ม.2 /4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้ (ง 3.1 ม.3 /3)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
(ง 3.1 ม.3
/4)
-
ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต(ง
3.1 ม.4-6/9)
-
อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม.4-6/13)
|
มาตรฐาน พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์
สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1
ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1 )
มาตรฐาน พ 3.1
-
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม
คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน (พ 3.1 ม.3/2)
มาตรฐาน พ 3.2
-
เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง
(พ 3.2 ม.2/2)
-
มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (พ 3.2 ม.3/3)
-
นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้
(พ 3.2 ม.3/5)
|
มาตรฐาน ศ1.1
-
วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา
น้ำหนัก และวรรณะสี -สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ
เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(ศ 1.1 ม.2/3)
|
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย :
"1000 ล้านชีวิตในตัวเรา"
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา
2557
สิ่งที่รู้แล้ว
|
สิ่งที่อยากเรียนรู้
|
- สิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องได้รับสารอาหาร
- แบคทีเรียที่อยู่ในปากของเราทำให้มีกลิ่นปาก
- สิ่งมีชีวิตสามารถเจริญเติบโตได้
- ในร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์
- เม็ดเลือดขาวป้องกันการเกิดโรคต่าง
- ในใบไม้มีสารคลอโรฟิลล์(สีเขียว)
- ร่างกายสามารถขยับได้มาจากกล้ามเนื้อ
เอ็น
- สิ่งมีชีวิตมีหลายรูปแบบ
- ในร่างกายมีแบคทีเรียทั้งดี
และไม่ดี
- สิ่งมีชีวิตเล็กๆที่อยู่ในตัวเรามี
แบคทีเรีย เชื้อรา พยาธิ
- สิ่งมีชีวิต
เช่น คน พืช สัตว์
- สิ่งมีชีวิตมีทั้งแบบกินพืชแลแบบกินสัตว์
- มีสิ่งมีชีวิตจำนวนมากที่เราไม่สามารถมองได้ด้วยตาเปล่า
- ในร่างกายของเรามีสิ่งมีชีวิตมากมายหลายล้านตัวในร่างกายของเรา
|
- ในร่างกายของเรามีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง
- สิ่งมีชีวิตค้นพบได้อย่างไรบนโลก
- สิ่งมีชีวิตบนโลกมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
- ส่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการเจริญเติบโตอย่างไร
- ในร่างกายเรามีจุลินทรีย์อะไรบ้างและทำหน้าที่อย่างไร
- จุลินทรีย์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
และแต่ละประเภทต่างกันอย่างไร
- จุลินทรีย์สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง
- สิ่งมีชีวิตต่างๆอาศัยอยู่ร่วมกันได้อย่างไร
- ในร่ายกายของคนเรามีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง
-มีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้างที่เราสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า
และที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
- ในร่างกายของเรามีสารอะไรบ้าง
- จุลินทรีย์มีลักษณะอย่างไร
- เชื้อโรคมีประโยชน์หรือโทษต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร
- เชื้อโรคแต่ละชนิดมีการเจริญเติบโตอย่างไร
|
ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
PBL
(Problem Based Learning)
หน่วย : "1000 ล้านชีวิตในตัวเรา"
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
กิจกรรมระยะยาว
|
12 -13
4 – 15 ส.ค.
2557
|
โจทย์ :
การทำน้ำหมักชีวภาพ
Key Questions
:
-
นักเรียนแต่ละคนเลือกทำน้ำหมักจากอะไรและมีวิธีทำน้ำหมักอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าน้ำหมักชีวภาพนำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง
และเกี่ยวของกับสิ่งมีชีวิตอย่างไร
-
ถ้าเราจะทำน้ำหมักชีวภาพใช้เองเราจะทำอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms
: ร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากดูคลิปการทำน้ำหมักชีวภาพ
วิธีการทำน้ำหมัก
Show and Share : นำเสนอการทำน้ำหมักชีวภาพ วิธีการทำน้ำหมัก
Wall Thinking : การ์ตูนช่อง
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เปลือกผลไม้
น้ำตาล ถังหมัก น้ำ
- คลิป
การทำน้ำหมักชีวภาพ
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-
อินเทอร์เน็ต
- ห้องสมุด
|
-
ครูให้นักเรียนนำน้ำหมักที่แต่ละคนทดลองทำจากที่บ้านมาแลกเปลี่ยนให้เพื่อนดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนแต่ละคนเลือกทำน้ำหมักจากอะไรและมีวิธีทำน้ำหมักอย่างไร
- นักเรียนนำเสนอเกี่ยวกับวิธีการทำน้ำหมักให้เพื่อนและครูฟัง
- ครูเปิดคลิป การทำน้ำหมักชีวภาพให้นักเรียนดู
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนได้เรียนรู้อะไร เห็นอะไร และรู้สึกอย่างไร
จากสิ่งที่ได้ดู
- ครูและนักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากการดูคลิป การทำน้ำหมักชีวภาพ
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนคิดว่าน้ำหมักชีวภาพนำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง
และเกี่ยวของกับสิ่งมีชีวิตอย่างไร
-
ถ้าเราจะทำน้ำหมักชีวภาพใช้เองเราจะทำอย่างไร
-
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
พร้อมทั้งนำเสนอวิธีการทำน้ำหมักของคนในชุมชนที่ตนเองรู้จัก
-
นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ 4 คน
ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำน้ำหมักชีวภาพรวมทั้งหาวิธีการใหม่ๆ
พร้อมทั้งนำเสนอให้เพื่อนและครูฟัง
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มๆ แบ่งหน้าที่ในการเตรียมอุปกรณ์ พร้อมทั้งนำเสนอให้เพื่อนและครูฟัง
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำน้ำหมักชีวภาพตามที่ได้วางแผนไว้
- สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง และบันทึกผล
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำคลิปสาธิตการทำน้ำหมัก ขั้นตอนการทำน้ำหมักชีวภาพ
- นักเรียนแต่ละคนประมวลความรู้ของตนเองผ่านการ์ตูนช่อง
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ดูคลิป การทำน้ำหมักชีวภาพ
- การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากการดูคลิป การทำน้ำหมักชีวภาพ
-
นำเสนอเกี่ยวกับวิธีการทำน้ำหมัก
- การศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตไวน์ผลไม้
ชิ้นงาน :
-
น้ำหมักชีวภาพ
-
คลิปสาธิตการทำน้ำหมัก ขั้นตอนการทำน้ำหมักชีวภาพ
-
บันทึกผลจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของ
-
การ์ตูนช่องเกี่ยวกับน้ำหมักชีวภาพ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพใช้เอง
ทักษะ :
-
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
-
สามารถดูแลทำความสะอาดอุปกรณ์หลังจากใช้งานเสร็จ
-
สามารถทำน้ำหมักชีวภาพใช้เองได้
การวางแผนการทำงาน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานและเตรียมอุปกรณ์ในการทำน้ำหมักชีวภาพ
คุณลักษณะ
-
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
กล้าแสดงความคิดเห็น
-
รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
|
เลี้ยงไก่ไข่ +
เพาะเลี้ยงแหนแดง
|
14 - 16
18 ส.ค.
- 5 ก.ย.
2557
|
โจทย์ :
เชื้อโรค
Key Questions
:
- นักเรียนคิดว่าเชื้อโรคที่อยู่รอบๆตัวเราเกิดขึ้นได้อย่างไร
-
นักเรียนคิด ระบบคุ้มกันโรคในร่างกายเราเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ถ้าหากร่างกายของเราขาดภูมิคุ้มกันจะเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms
: ร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากดูคลิป
Show and Share : นำเสนอการทำน้ำหมักชีวภาพ วิธีการทำน้ำหมัก
Wall Thinking : การ์ตูนช่อง
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิป เรื่องเล่า เสาร์-อาทิตย์ แพทย์อาสาติดเชื้ออีโบลา
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-
อินเทอร์เน็ต
- ห้องสมุด
|
- ครูให้นักเรียนดูคลิป เรื่องเล่า เสาร์-อาทิตย์ แพทย์อาสาติดเชื้ออีโบลา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด จากที่ได้ดู
นักเรียนรู้สึกอย่างไร นักเรียนคิดว่าเชื้อโรคที่อยู่รอบๆตัวเราเกิดขึ้นได้อย่างไร
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ 3 – 4 คน ศึกษาค้นคว้าดังนี้
- เชื้อโรคต่างๆเช่น
เชื้อไวรัส เชื้อแบคที่เรีย
เชื้อรา
เชื้อโรคที่ปนเปื้อนในอาหาร ฯลฯ พร้อมทั้งศึกษาเกี่ยวกับสาเหตุ
ลักษณะอาการ วิธีป้องกัน การดูแลสุขภาพ
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนออกแบบการนำเสนอให้เพื่อนและครูฟังเช่น
บทบาทสมมติ คลิปวิดีโอ วิทยากร เป็นต้น
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแลกเปลี่ยนให้เพื่อนกลุ่มอื่นดูพร้อมทั้งตอบคำถาม
และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิด ระบบคุ้มกันโรคในร่างกายเราเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ถ้าหากร่างกายของเราขาดภูมิคุ้มกันจะเป็นอย่างไร
เชื่อม :
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
-
นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ 4 คนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา
-
นักเรียนศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนเช่น โรงพยาบาล
เพื่อเก็บข้อมูลแล้วร่วมกันวางแผนเผยแพร่ ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ
-นักเรียนเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ
เช่น ไข้เลือดออก มือเท้าปากเปลื่อย โรคผิวหนัง
เป็นต้น
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ดูเรื่องเล่า เสาร์-อาทิตย์ แพทย์อาสาติดเชื้ออีโบลา
- การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเชื้อโรคต่างๆเช่น
เชื้อไวรัส เชื้อแบคที่เรีย
เชื้อรา
เชื้อโรคที่ปนเปื้อนในอาหาร ฯลฯ
- วางแผนออกแบบการนำเสนอ
- การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่น ไข้เลือดออก มือเท้าปากเปลื่อย โรคผิวหนัง เป็นต้น
ชิ้นงาน :
-
นำเสนอภูมิคุ้มกันในร่างกาย
-
เผยแพร่ความรู้เรื่องโรค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
กลไกการป้องกันและการทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
การเกิดโรคที่เกิดจากความผิดปกติของภูมิคุ้มกันและจากการได้รับเชื้อโรคต่างๆ รวมทั้งสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตนเองได้ทักษะ :
- การวางแผนในการออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ
เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษาเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้
ทักษะการรอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคนมีการทำงานร่วมกันในกิจกรรมการออกแบบรูปแบบการนำเสนอ
เผยแพร่ พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน
คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์ออกแบบการนำเสนอและเผยแพร่
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|
17 - 19
8 – 26
ก.ย. 2557
|
โจทย์ :
การออกแบบผลิตภัณฑ์ และการแปรรูป
Key Questions
:
-
นักเรียนคิดว่า
การออกผลิตภัณฑ์มีความสำคัญและมีผลต่อการตลาดอย่างไร
-
นักเรียนคิดว่าเราจะสามารถสร้างผลิตภัณฑ์จากผัก
ไข่ ปลา และสร้างมูลค่าเพิ่มได้อย่างไร
-
นักเรียนคิดว่าเราสามารถนำ
ผัก ไข่ ปลา มาแปรรูปอะไรได้บ้าง และมีวิธีอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms
: แสดงความคิดเห็นเสนอแนะการแปรรูปผลิตภัณฑ์(ผัก ไข่
ปลา)
Show and Share : การนำเสนอวิธีการแปรรูป ผัก ไข่ ปลา
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อุปกรณ์ วัตถุดิบในการแปรรูป
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-
อินเทอร์เน็ต
- ห้องสมุด
|
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่า
การออกผลิตภัณฑ์มีความสำคัญและมีผลต่อการตลาดอย่างไรบ้าง
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ 3 – 4 คน ศึกษาค้นคว้าดังนี้ - หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
- คุณประโยชน์ของการออกแบบผลิตภัณฑ์
- คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ดี
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนออกแบบการนำเสนอให้เพื่อนและครูฟัง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าเราจะสามารถสร้างผลิตภัณฑ์จากผัก
ไข่ ปลา และสร้างมูลค่าเพิ่มได้อย่างไร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าเราสามารถนำ ผัก ไข่ ปลา
มาแปรรูปอะไรได้บ้าง และมีวิธีอย่างไร
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน พร้อมทั้งเสนอวิธีการแปรรูป ผัก ไข่ ปลา
ให้เพื่อนและครูฟัง
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผน
วิธีการใหม่ๆ พร้อมทั้งนำเสนอให้เพื่อนและครูฟัง
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มๆ แบ่งหน้าที่ในการเตรียมอุปกรณ์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์(ผัก ไข่ ปลา)
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเสนอแนะการแปรรูปผลิตภัณฑ์(ผัก ไข่
ปลา)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำแปรรูปผลิตภัณฑ์ตามที่ได้วางแผนไว้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปขั้นตอนกระบวนการทำงานตั้งแต่เริ่มต้นตามความเข้าใจของตนเอง
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ
- คุณประโยชน์ของการออกแบบผลิตภัณฑ์
- คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ดี
- การเสนอวิธีการแปรรูป
ผัก ไข่ ปลา
ชิ้นงาน :
-
สรุปขั้นตอนกระบวนการทำงาน
-
แปรรูป ผัก ไข่ ปลา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพใช้เอง
ทักษะ :
-
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
-
สามารถดูแลทำความสะอาดอุปกรณ์หลังจากใช้งานเสร็จ
-
สามารถทำน้ำหมักชีวภาพใช้เองได้
การวางแผนการทำงาน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานและเตรียมอุปกรณ์ในการทำน้ำหมักชีวภาพ
คุณลักษณะ
-
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
กล้าแสดงความคิดเห็น
-
รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
|
|
20 - 21
29 ก.ย. – 10 ต.ค.
2557
|
โจทย์
สรุปและถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
Key Question
- นักเรียนคิดว่าเราจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ
และร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่า รูปแบบการนำเสนอเรื่องที่ตนเองได้เรียนรู้
ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้ จากการเรียนรู้หน่วย “1000
พันล้านชีวิตในตัวเรา” นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง
และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเสนอเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้น่าสนใจ
Brainstorm
นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบและเตรียมอุปกรณ์ต่างๆเพื่อถ่ายทอดเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- อุปกรณ์และชิ้นงาน
|
- ครูและนักเรียนร่วมทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าเราจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ และร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่า รูปแบบการนำเสนอเรื่องที่ตนเองได้เรียนรู้ ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร?”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน หน่วย
1000 ล้านชีวิตในตัวเรา
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มๆละ
4 คน แต่ละกลุ่มออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ
เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองานของตนเอง
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ
และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนให้กับน้องๆ คุณครูและผู้ปกครอง
ชง :
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้ จากการเรียนรู้หน่วย “1000
พันล้านชีวิตในตัวเรา” นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง
และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม?”
เชื่อม :
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว
และอะไรที่ต้องพัฒนาเกี่ยวกับการเรียนรู้
หน่วย “1000 พันล้านชีวิตในตัวเรา” ในครั้งนี้
- นักเรียนร่วมกันจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
- ครูและนักเรียนร่วมสรุปข้อมูลอีกครั้งเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอดภาคเรียนที่ 1
- ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนตลอด
ภาคเรียนที่ 1 ในรูปแบบ Mind Mapping
-นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- การเตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองาน
- การนำเสนอ
และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับน้องๆ คุณครูและผู้ปกครอง
- การตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว
สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- การสรุปองค์ความรู้หลังเรียนตลอด
ภาคเรียนที่ 1 ในรูปแบบ Mind Mapping
ชิ้นงาน :
- Mind Mapping หลังเรียนสรุปองค์ความรู้ภาคเรียนที่ 1
- เขียนสิ่งที่ดีแล้ว-สิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
กระบวนการนำเสนอและถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
ทักษะ :
- การวางแผนในการออกแบบ
รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษาเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้
ทักษะการรอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคนมีการทำงานร่วมกันในกิจกรรมการออกแบบรูปแบบการนำเสนอ
พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน
คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและเตรียมอุปกรณ์เพื่อจัดสถานที่
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|